นิกาย
ศาสนาพุทธ แบ่งออกเป็นนิกายใหญ่ได้ 2 นิกายคือ เถรวาท และมหายาน นอกจากนี้แล้วยังมีการแบ่งที่แตกต่างออกไปแบ่งเป็น 3 นิกาย เนื่องจากวัชรยานไม่ยอมรับว่าตนคือมหายาน เนื่องจาก มหายานมีต้นเค้ามาจากท่านโพธิธรรม (ปรมาจารย์ตั๊กม้อ) ส่วนวชิรยานมีต้นเค้ามาจากท่านคุรุปัทสัมภวะ เถรวาท (เดิมเรียกอีกชื่อว่า 'หินยาน' แปลว่า ยานเล็ก) หมายถึง คำสั่งสอนของพระพุทธเจ้า ซึ่งคำสั่งสอน และ หลักปฏิบัติ จะเป็นไปตามพระไตรปิฎก แพร่หลายอยู่ในประเทศไทย ศรีลังกา พม่า ลาว กัมพูชา และ บางส่วนของประเทศเวียดนามส่วนมากเป็นชาวเขมร บังกลาเทศ และ มาเลเซียส่วนมากเป็นชาวไทย มหายาน (ยานใหญ่) หรือ อาจาริยวาท แพร่หลายใน จีน ญี่ปุ่น มองโกเลีย ภูฏาน ไต้หวัน เกาหลีเหนือ เกาหลีใต้และ สิงคโปร์ และบางส่วนของ อินเดีย อินโดนีเซีย มาเลเซียส่วนมากเป็นชาวจีน เนปาล บรูไนส่วนมากเป็นชาวจีน ฟิลิปปินส์ส่วนมากเป็นชาวจีน อุซเบกิสถาน และ ทาจิกิสถาน วัชรยาน หรือ มหายานพิเศษ ปัจจุบันมีใน อินเดียบริเวณลาดักในรัฐชัมมูและกัษมีร์ และในรัฐสิกขิม ประเทศเนปาล ภูฏาน ปากีสถาน มองโกเลียคลังบทความของบล็อก
-
▼
2010
(23)
-
▼
กันยายน
(14)
- นิกาย ในพระพุทธศาสนา
- การไหว้
- วิธีพ้นทุกข์และพบสุข
- รัก
- สุข
- มิตร
- ทุกข์
- เมตตา คือ รักแท้ ของบิดา อินเดีย
- สัตว์ในเข่ง
- พระเจ้าอโศกมหาราช อัครมหาบุรุษหนึ่ง ใน 6 อัครมหาบุ...
- พระโสณะและพระอุตตระ ผู้นำพระพุทธศาสนาเข้าสู่ประเทศไทย
- มหาเศรษฐี มหาอุบาสก อนาถบิณฑิกเศรษฐี เศรษฐีผู้มี...
- นางวิสาขา มหาอุบาสิกา หญิงเบญจกัลยาณี หญิงที่มีคว...
- อีคิว
-
▼
กันยายน
(14)
สมัครสมาชิก:
ส่งความคิดเห็น (Atom)
ไม่มีความคิดเห็น:
แสดงความคิดเห็น